สร้าง Content ตระหนักรู้ ถึงปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศเยาวชนบนโลกอินเตอร์เน็ต
หลายคนทราบดีว่าเมืองไทยไม่ได้มีแต่ด้านสว่าง แต่ สีเทา กับ ดำ กลับไม่ถูกมองเห็น หรือ ไม่อยากจะเห็น ปัญหาการค้ามนุษย์ที่เป็น เยาวชน บนโลกอินเตอร์เน็ต คือหนึ่งในนั้น ที่มีส่วนประกอบยากมาก 2 สิ่ง คือ
(1.) เยาวชน รู้ไม่เท่าทันกลลวง และ (2.) โลกอินเตอร์เนต เป็นดั่งเมฆหมอก เปลี่ยนเร็ว ตามยาก กว้างและลึก
---
World Childhood Foundation สวีเดน Childhood เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ พร้อมด้วย พี่บุ๋ม คุณวีรวรรณ มอสบี้ Boomie Bean ผู้ก่อตั้ง มูลนิธิสานสChildhoodอบครัว (Hug Project) เป็นหัวเรือใหญ่ในการสร้าง content สร้างการตระBoomie Beanังคมวงกว้าง พร้อมด้วยเครือข่าย ภาครัฐ, เอกชน และ องค์กรระหว่างประเทศ ให้การสนับสนุน
---
แรกเริ่มต้องการสร้างคู่มือให้คำแนะนำทางกฏหมายกับผู้เสียหาย ต่อมาปรับรูปแบบให้สอดคล้องกับ การเข้าถึงคนรุ่นใหม่ ด้วยสื่อใหม่ ได้แก่ e-book และ Interactive fiction (สถานการณ์ทางเลือกเล่นบนมือถือ)
---
e-book
https://www.hugproject.org/th/media/hughandbook/
---
Interactive fiction (สถานการณ์ทางเลือกเล่นบนมือถือ)
https://www.hugproject.org/hugfiction/
---
ลงสื่อต่างๆ
https://www.matichon.co.th/life.../social-women/news_2828294
----
ทั้ง 3 ทีมหลัก ที่ร่วมกันพัฒนา Content ได้แก่
1. มูลนิธิสานสัมพันธ์ครอบครัว (Hug Project)
2. บริษัท สาระภาพ จำกัด (Pictures Talk) ขอยกเครดิตให้ทีมงาน
นัสรีน สรรเสริญ (นัส) Nassareen Sunsern - Head of Story & illustraPictures Talkอัญมณี มาตยาบุญ (จินดา) Unyamanee JD - Content & colNassareen Sunsern ธนพร สว่างเมือง (แซนดี้) Thanaporn Sawangmuang - Content & colUnyamanee JD. อ.ธันยา นวลละออง อาจารย์คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Thanaporn Sawangmuangทยาเขตบางแสน
----
ต้องน่าสนใจ ให้ข้อคิด และ ไม่สิ้นหวัง
ทีม Pictures Talk คุยกัน เรารู้ดีว่าเนื้อหาเรื่องนี้หนักหน่วงขนาดไหน แต่จะทำยังไงให้คนสนใจมากกว่า เศร้า หดหู่ การได้พูดคุยกับเหยื่อ ฟังเรื่องจริง วิธีการล่อลวงต่างๆ นำมาดัดแปลงเนื้อหา สร้างสถานการณ์, ตัวละครสมมุติ
พบเหตุการณ์ ต้องเลือก และพบกับผลลัพธ์ต่างๆ เป็นภาพการ์ตูน เล่นบนมือถือ คือ เป้าหมายตั้งแต่ Day 1.
---
แน่นอนว่า ยาก ท้าทาย เพราะทุกฝ่ายทำร่วมกันเป็นงานแรก ด้วยการสนับสนุน แนะนำ ให้คำปรึกษาทั้งจาก ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง, สำนักงานอัยการคดีค้ามนุษย์, สำนักงานอัยการสูงสุด, TICAC
นักสังคมสงเคราะห์, กระทรวง พม., NGO, FBI, Homeland Security, UNICEF และอีกหลายหน่วยงาน
---
เกือบ 1 ปี ตั้งแต่ประชุมวันแรก เหมือนการเดินทางได้เรียนรู้หลายสิ่งอย่าง ว่า ไม่ใช่เพียงเยาวชนผู้ตกเป็นเหยื่อที่ปวดร้าวทั้ง กาย ใจ ยังรวมถึง ครอบครัว คนใกล้ชิด ชุมชน ที่ได้รับผลกระทบไปด้วย คงไม่เกินจริงที่จะบอกว่าไม่มีใครเข้าใจได้เท่ากับคนที่โดนกับตัวเอง
---
ปัญหานี้ไม่เกิดแค่เมืองไทย แม้แต่ที่เกาหลีใต้ ก็ไม่ต่างกัน
หวังว่า โครงการนี้ จะเป็นจุดเล็กๆที่ค่อยๆสร้างแรงกระเพื่อมให้ สังคม รัฐบาล และ ผู้มีอำนาจตัดสินใจ ได้ยิน
Commentaires